28 มิถุนายน 2552

DTS 02-23/06/2009

#include"stdio.h"
#include"string.h"
main()
{
struct patient
{
char name[15];
char sirname[30];
int id;
char gender[10];
int age;
char status[15];
float weight;
float height;
}case_history;
strcpy(case_history.name,"Piyanat");
strcpy(case_history.sirname,"Piyachockanagul");
case_history.id=12345;
strcpy(case_history.gender,"Female");
case_history.age=20;
strcpy(case_history.status,"single");
case_history.weight=45.00;
case_history.height=165.00;
printf("Name : %s\n",case_history.name);
printf("Sirname : %s\n",case_history.sirname);
printf("ID : %d\n",case_history.id);
printf("Gender : %s\n",case_history.gender);
printf("Age : %d\n",case_history.age);
printf("Status : %s\n",case_history.status);
printf("Weight : %.2f\n",case_history.weight);
printf("Height : %.2f\n",case_history.height);
}



ความรู้ที่ได้รับจากเรื่อง Introduction

โครงสร้าง คือ ความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม ส่วนข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงต่างๆ อาจจะเป็นตัวเลข หรือไม่เป็นก็ได้ ดังนั้นเมื่อนำคำทั้งสองคำนี้มารวมกันจึงเกิดคำใหม่ คือ โครงสร้างข้อมูล ซึ่งมีความหมายว่าความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้าง สามารถจำแนกได้ 2ประเภท ได้แก่ โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ และโครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ

โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ แบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลเบื้องต้น เช่น char,int และข้อมูลโครงสร้าง เช่น array,record,file โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ ก็สามารถแบ่งได้อีก 2 ส่วน ก็คือ โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น และโครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น ในการเลือกใช้โครงสร้างข้อมูลนั้นจะต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลชุดนั้นๆเป็นสำคัญ และต่อง่ายและสะดวกต่อการดำเนินงาน

อัลกอริทึ่ม เป็นการแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบระเบียบขั้นตอน ในการเลือกใช้นั้นจะต้องมีความเหมาะสมและกระชับรัดกุม การแสดงขั้นตอนมักจะใช้ flowchartที่เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงขั้นตอนการทำงาน ควรใช้ภาษาธรรมชาติที่เข้าใจได้ง่าย ไม่ซับซ้อน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น